AI206 งานวิจัย นวัตกรรม และการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Research, Innovation, and Applications in Artificial Intelligence)

วิชาที่ 1 ปัญญาประดิษฐ์ที่มีตัวตน (Embodied Artificial Intelligence)
บทที่ 1: ข้อจำกัดของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์แบบดั้งเดิม
บทที่ 2: บทนำปัญญาประดิษฐ์ที่มีตัวตน (Embodied AI)
บทที่ 3: ตัวอย่างสถานการณ์ในการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ที่มีตัวตน
บทที่ 4: ตัวอย่างการใช้ปัญญาประดิษฐ์ที่มีตัวตนบนแฟลทฟอร์ม แบบจำลอง (simulation platforms)
บทที่ 5: การใช้ระบบฮอร์โมนจำลองในการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ที่มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม

วิชาที่ 2 ปัญญาประดิษฐ์และระบบเชื่อมต่อระหว่างสมองและคอมพิวเตอร์ (Artificial Intelligence and Brain-Computer Interfaces)
บทที่ 1: บทนำปัญญาประดิษฐ์และระบบเชื่อมต่อระหว่าง
สมองและคอมพิวเตอร์
บทที่ 2: ประเภทของเทคโนโลยีการเชื่อมต่อระหว่างสมองและคอมพิวเตอร์ และ การนำไปใช้
บทที่ 3: การวิเคราะห์คลื่นสมอง (EEG analysis)
บทที่ 4: ตัวอย่างการทดลองในห้องปฏิบัติการ
บทที่ 5: การใช้การเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ในการพัฒนาเทคโนโลยีการเชื่อมต่อระหว่างสมองและคอมพิวเตอร์

วิชาที่ 3 รู้จักกับศิลปะปัญญาประดิษฐ์ (Introduction to Artificial Intelligence Art)
บทที่ 1: บทนำศิลปะปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 2: ความหมายของศิลปะ
บทที่ 3: ทำไมจึงต้องมีศิลปะปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 4: ประเภทของปัญญาประดิษฐ์ที่ใช้ในเทคโนโลยีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนซึ่งเป็นผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ (human-computer interaction)
บทที่ 5: ประเภทผลงานศิลปะปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 6: จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับศิลปะปัญญาประดิษฐ์

หลักสูตรนี้ สนับสนุนโดยกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และพัฒนาโดย ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (นำเสนอผ่าน Academy.KMUTTWORKS.com)